เกีี่ยวกับ "dabbawallahs"
"dabbawallash" เป็นชื่อของระบบการขนส่ง
ที่ใช้ขนส่งอาหารกลางวัน
โดยเรื่องของเรื่องก็คือ มีคน india ใน Mumbai จำนวนหนึ่ง
ที่ต้องกินข้าวกลางวันที่ทำจากบ้านตัวเองเท่านั้น
(อาจจะเป็นเหตุผลทางศาสนา หรือความเชื่อ)
ก็เลยเกิดเครือข่ายในการขนส่งขึ้น
ด้วยการไปรับปิ่นโตตามบ้านที่เหล่าภรรยาเตรียมไว้
จากนั้นก็รวบรวมแล้วนำส่งไปยังที่ทำงานของเหล่าบรรดาสามี
โดยใช้ทั้งการเดิน, ขี่จักรยาน, รถไฟ, รถเข็น
ระยะทางที่ขนส่ง ไม่มากเลย
a typical customer commutes about 100 kms a day between his home and work place.
(อย่าลืมหาร 2 หล่ะ)
น้ำหนักของการแบกเดิน ก็ไม่มาก
carrying a load of 100 kgs. mannually on their head and walk 2.5 kms.
น่าทึ่ง ที่ระบบนี้มีมา 120 ปีแล้ว
ในปี 2005 มีปริมาณอาหารที่ต้องส่ง 150,000 box, 300,000 transaction ต่อวัน
(บริการเก็บกลับบ้านให้ด้วย)
ใช้พนักงาน 5000 คน
ความผิดผลาดน้อยมาก
reported less than six errors in 13 million transaction
การจัดทืม จะแบ่งให้แต่ละคนรับผิดชอบอาหาร 30 ชุด
ทืมหนึ่งมี 8 คน
8 ทืมรวมเป็น 1 group
มี group ทั้งหมด 120 group
เริ่ม process ด้วยการไปรับอาหารจากบ้านต่างๆ ประมาณ 8.30-9.00
จากนั้นก็จะขนอาหารมารวมกันที่สถานีรถไฟ
ถึงตอนนี้ ก็เป็นเวลา Sorting แล้ว
ตรงนี้ต้องใช้ระบบรหัสมาช่วย
code ของแต่ละปิ่นโต จะประกอบด้วย
- origin of the lunch box
- assocated collection team member
- destination
- corresponding delivery team member
- location building identification and floor number
อาหารไปถึงลูกค้าไม่เกินบ่ายโมง
จากนั้น 3.30pm ก็ได้เวลาขนปิ่นโตกลับบ้าน
paper อ่านได้ที่นี่
World class logistics operations: The case of Bombay Dabbawallash
รูป ดูได้ที่นี่
http://perso.orange.fr/laurentallard/Les_Enfants_de_Gandhi/dabbawallahs.html
3 comments:
สงสัยแค่ว่าทำไมคุณสามีไม่ถือปิ่นโตกลับบ้านเอง?
อาจจะเอากลับเองก็ได้
แต่ไหน ๆ คนส่งก็ต้องเดินทางกลับอยู่แล้ว ก็เลยเพิ่มบริการขนกลับให้ด้วยป่ะ ?
จะได้ไม่ต้องตีรถเปล่า
(สิ่งที่ Wal-mart ไม่ต้องการอย่างมาก)
ตอนอ่านครั้งแรก ก็ไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไมไม่แบกกลับกันเอง
แต่มานึกดูแล้ว ถ้าขนเที่ยวเดียวมันไม่น่ามีแรงจูงใจพอให้มีคนมาทำงานนะ ดูเป็นงาน part-time ไปเลย
แต่ถ้าขนกลับ ค่อยดูเป็นงาน full-time หน่อย
Post a Comment